การ ปรับ ฐาน เงินเดือน

การที่เราปรับเงินเดือนน้อยไป จะทำให้ลูกน้องอาจจะไม่อยู่กับเรา เพราะเห็นว่าปรับน้อยเกินไป ค่าใช้จ่ายไม่พอเพียง 2. การปรับมากเกินไป ก็จะทำให้เสียค่าใช้จ่ายเพิ่ม หากรายได้ไม่เพิ่มด้วยแล้ว ก็เท่ากับ กำไรลดลง 3. การปรับเงินเดือนตามผลงานที่สามารถตรวจวัดได้ จะเหมือนกับมีความยุติธรรม แต่แท้ทีจริงแล้ว มีงานอีกหลายงานที่ไม่สามารถตรวจวัดได้แต่เป็นงานที่ต้องทำ และ สมควรทำ เช่น การพูดให้กำลังใจเพื่อให้พนักงานทำงานให้เต็มที่ ซึ่งเป็นงานที่ตรวจวัดไม่ได้ แต่ต้องทำ และถ้ามองในมุมกลับกัน หากคนทำงานทำแต่ผลงานที่วัดได้ แล้ว ละเลยงานที่เกี่ยวกับคุณภาพ หรือวัดไม่ได้แล้ว ก็จะทำให้องค์กรไม่พัฒนาเช่นกัน 4. ค่าจ้างพนักงานถือว่าเป็นการลงทุนเพื่อหวังผลกำไรเช่นกัน นั่นหมายถึง ถ้าคุณเพิ่มเงินเดือนให้กับพนักงาน แน่นอนเท่ากับคุณกำลังเพิ่มรายจ่ายของบริษัทฯ ซึ่งถือว่าเป็นการลงทุน สิ่งที่ตอบแทนจากการลงทุน ก็คือ การที่พนักงานทำงานให้เราได้อย่างเต็มที่ หรือ อยู่กับเราได้ ทำให้คุณภาพของงานดีขึ้น หรือ อย่างน้อย ต้องไม่เลวลง... 5. การปรับฐานเงินเดือนล่าช้ากว่าที่อื่น ทำให้พนักงานรู้สึกว่าไม่ได้เหมือนคนทั่วไป แต่จะส่งผลดีกับองค์กรทางด้าน พนักงานจะลาออกหลังการปรับเงินเดือน ก็จะเลยช่วงของการรับสมัครพนักงานใหม่ไปแล้ว ทำให้พนักงานอยู่ในองค์กรได้นานขึ้น หรือ อาจจะทำให้มีอัตราการออกจากงาน ต่ำด้วย 6.

  1. อยากทราบการปรับเงินเดือนประจำปี เขามีเกณฑ์อย่างไร ว่าต้องปรับกี่เปอร์เซ็น - Pantip
  2. ปรับลดฐานเงินเดือนพนักงาน แต่บวกเพิ่มให้เป็น "ค่าตำแหน่ง"
  3. การปรับเงินเดือนประจำปี จะแก้ปัญหาพนักงานมีฐานเงินเดือน Max ในขั้นกระบอกแล้ว จะต้องแก้ไขอย่างไร|HR

อยากทราบการปรับเงินเดือนประจำปี เขามีเกณฑ์อย่างไร ว่าต้องปรับกี่เปอร์เซ็น - Pantip

การปรับฐานเงินเดือนเนื่องจาก ฐานเงินเดือนทั่วไปมีการปรับตัว ลักษณะนี้เกิดในช่วงที่มีการเปลี่ยนแปลง เช่น รัฐบาลมีการปรับรายได้พนักงานรายวันเพิ่มขึ้น การปรับฐานเงินเดือนของพนักงาน ก็จะขึ้นอยู่กับดุลพินิจของผู้บริหารว่า สมควรที่จะปรับมากน้อยเพียงใด ควรจะปรับตาม หรือ คงเงินเดือนเหล่านั้นไว้เนื่องจากอัตราค่าจ้างสูงกว่าอยู่แล้วเป็นต้น สาเหตุการปรับฐานเงินเดือนที่เพิ่งพบเห็นในประเทศไทย มีอีกลักษณะหนึ่ง ในช่วงเกิดวิกฤติเศรษฐกิจในประเทศไทย 1. หลายๆองค์กรมีการปรับฐานเงินเดือนลง ลดอัตราค่าจ้างลง เพื่อรักษาให้องค์กรสามารถอยู่รอดได้ การลดฐานเงินเดือนลง จะส่งผลให้พนักงานรู้สึกไม่ดีกับองค์กร และ เป็นตัวชี้ว่า องค์กรไม่มีเสถียรภาพมากพอ 2. บางองค์กรก็ให้เลือกระหว่างการปรับฐานเงินเดือนลง กับ การให้บางคนออกก่อนเกษียร ซึ่งบางองค์กรจะเลือก การปรับฐานเงินเดือนลง และ ค่อยสื่อให้พนักงานรับทราบ แต่บางองค์กรเลือกที่จะเอาพนักงานที่ไม่มีคุณภาพหรือไม่ได้ประสิทธิภาพออก หรือบางองค์กรก็ผสมทั้งสองอย่าง เพื่อปรับปรุงระบบทั้งระบบให้อยู่ได้ ทั้งนี้ก็เพื่อที่จะลดค่าใช้จ่ายลงเป็นหลัก 3. บางองค์กรก็ให้พนักงานเลือกที่จะเกษียรก่อนกำหนด เพื่อลดจำนวนพนักงานลง หลายๆองค์กรก็ใช้โอกาสนี้ในการปรับองค์กรให้มีความกระชับขึ้น เพื่อสามารถเปลี่ยนแปลง องค์กร และ ลดค่าใช้จ่ายไปในตัว 4.

เมื่อคุณทำงานใน บริษัท เป็นเวลาหลายปีคุณได้สะสมความเชี่ยวชาญที่สำคัญอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้เพื่อการพัฒนา คิดว่าตอนนี้เป็นเวลาที่จะใช้ประโยชน์จากการขึ้นค่าจ้างหรือไม่? ท้ายที่สุดคุณได้รับมัน ในการดำเนินการนี้คุณต้องยื่นขอเพิ่มจากนายจ้างของคุณ ต่อไปนี้เป็นเคล็ดลับสำหรับความพยายามของคุณตลอดจนตัวอย่างจดหมายขอขึ้นเงินเดือน ค่าตอบแทนพนักงานคืออะไร?

ปรับลดฐานเงินเดือนพนักงาน แต่บวกเพิ่มให้เป็น "ค่าตำแหน่ง"

การปรับเงินเดือน/ค่าจ้างประจำปี จะแก้ปัญหาพนักงานมีฐานเงินเดือน Max ในขั้นกระบอกแล้ว จะต้องแก้ไขอย่างไร ทางนายจ้างก็ต้องการปรับเงินเดือนให้กับพนักงานระดับปฏิบัติดังกล่าวเนื่องจากทำงานมานาน มีอายุใกล้ไวเกษียณ แต่ไม่อยากให้เสียโครงสร้างกระบอกเงินเดือน เพราะจะกระทบกับตำแหน่งงานในโครงสร้างกระบอกเงินเดือน ในฐานะฝ่าย HR ท่านคิดว่าควรแก้ไขปัญหานี้อย่างไร 0 คัดลอก URL เรียบร้อยแล้ว! 4 คำตอบ พิจารณาจากพนักงานครับว่าสามารถทำงานอื่นเพิ่มเติมเพื่อนำมาคิดค่าตอบแทนเพิ่มได้หรือไม่ครับ ถ้าได้ ให้มอบหมายงานเพิ่มเติม เช่น ทำคู่ ถ่ายทอดความรู้ประสบการณ์ ถ้าไม่ได้ อาจจะต้องเชิญพูดคุยเพื่อชี้แจงว่าทำไมไม่ขึ้นเงินเดือน และในระยะยาวสมควรวางแผนการปรับเงินเดือนในแต่ละปีว่าจนครบอายุเกษียณสามารถขึ้นเงินเดือนได้ปีละเท่าไรครับ คัดลอก URL เรียบร้อยแล้ว!

การกำหนด Min, Max และ Midpoint ต้องอิงกับค่างานและข้อมูลเงินเดือนของตลาดจริง ๆ (เพราะจะไม่มีประโยชน์อะไรเลยถ้าใช้วิธีนี้แล้วไม่มีข้อมูลอ้างอิงที่เหมาะสมหรือไม่มีการจ่ายตามค่างาน) 2.

พ. ให้รายละเอียดของ การปรับเงินเดือนในรอบ 10 ปีตั้งแต่ปี 2547-2554 โดยในปี 2547 ซึ่งเป็นยุคสมัยของนายกรัฐมนตรีพ. ต. ท. ทักษิณ ชินวัตร มีพระราชกฤษฎีกาการปรับเงินเดือนของข้าราชการ ซึ่งเป็นการปรับจากพระราชบัญญัติเงินเดือนและเงินประจำตำแหน่ง เป็นการปรับเงินเดือนของข้าราชการเข้าสู่โครงสร้างบัญชีเงินเดือนใหม่จากของเดิมปี 2538 โดยปรับเพิ่มในอัตราร้อยละ 3 เท่ากันทุกอัตราสําหรับข้าราชการทุกประเภท ทำให้เงินเดือนต่ำสุดอยู่ที่ 4, 230 บาท สูงสุดที่ 61, 850 บาท และเงินเดือนนายกรัฐมนตรี 65, 920 บาท ในบัญชีเงินเดือนปี 2547 นั้น มีการแบ่งเป็น 5 บัญชี คือ บัญชีอัตราเงินเดือนข้าราชการพลเรือนแบบเก่ากำหนดระดับไว้ 12 อันดับด้วยกัน ได้แก่ อันดับ ท. 1-ท. 11 และ บ. 11 ประกอบด้วยบัญชีอัตราเงินเดือนข้าราชการทหาร ทหารกองประจำการ และนักเรียนในสังกัดกระทรวงกลาโหม 14 ระดับ ตั้งแต่ พ. 1-พ. 2 ป. 1-ป. 3 น. 1-น. 9 บัญชีอัตราเงินเดือนข้าราชการตำรวจ 14 ระดับเช่นกัน นั่นคือ พ. 3 ส. 1-ส. 9 บัญชีอัตราเงินเดือนข้าราชการรัฐสภาฝ่ายการเมือง เช่น ที่ปรึกษาประธานรัฐสภา ที่ปรึกษารองประธานรัฐสภา ฯลฯ บัญชีอัตราตำแหน่งและเงินเดือนข้าราชการการเมือง เช่น นายกฯ รองนายกฯ รัฐมนตรีว่าการฯ ต่อมาเป็นการปรับบัญชีเดือนฯ ครั้งที่ 2 เป็นการเป็นการปรับเพิ่มเงินของระดับตําแหน่งในแต่ละประเภท ซึ่งเกิดขึ้นในปี 2548 เรียกว่า พระราชกฤษฎีกาการปรับอัตราเงินเดือนของข้าราชการ (ฉบับที่ 2) พ.

การปรับเงินเดือนประจำปี จะแก้ปัญหาพนักงานมีฐานเงินเดือน Max ในขั้นกระบอกแล้ว จะต้องแก้ไขอย่างไร|HR

อยากทราบการปรับเงินเดือนประจำปี เขามีเกณฑ์อย่างไร ว่าต้องปรับกี่เปอร์เซ็น พอดีสิ้นเดือนนี้ต้องปรับเงินเดือนแล้ว แต่ไม่รู้เขาใช้เกณฑ์อะไร ว่าใครปรับเท่าไหร่ หรือขึ้นอยู่กับ ตำแหน่ง อายุงาน การขาด ลา มาสาย หรือป่าว แสดงความคิดเห็น

  1. การปรับเงินเดือนประจำปี จะแก้ปัญหาพนักงานมีฐานเงินเดือน Max ในขั้นกระบอกแล้ว จะต้องแก้ไขอย่างไร|HR
  2. แจกฟรี font PSL สวย ๆ มากกว่า 2000 ฟอนต์ พร้อมวิธีการติดตั้ง | ฟอนต์ อักษร ขอ ม - Hợp âm guitar
  3. #500บาท ภาพถ่าย ขาว-ดำอัดกระจก2ด้าน หลวงปู่เผือก วัดกิ่ - ขายพระ ออนไลน์ ปล่อย ขาย ให้เช่า ฟรี ลงฟรี ไม่จำกัด ไม่ต้องสมัครสมาชิก
  4. ปรับฐานเงินเดือนพนักงาน - FlowAccount FAQ

คุณรู้เหตุผลในการขอขึ้นเงินดังนั้นสิ่งที่คุณต้องทำคือดำเนินการ โปรดทราบว่าคุณจะได้รับคำตอบที่ดีก็ต่อเมื่อตรงตามเงื่อนไขต่อไปนี้: ผลการดำเนินงานที่ดีการบรรลุวัตถุประสงค์สถานะทางการเงินที่ดีของ บริษัท การดำรงอยู่ของข้อตกลงตามสัญญา อย่างไรก็ตามตรงกันข้ามกับความเชื่อที่นิยมเรียกร้องให้ขึ้นเงินเดือน การเตรียมขั้นต่ำ.

ศ. 2548 ซึ่งเป็นปีที่ พ. ทักษิณ ชินวัตร เป็นนายกฯ อีกเช่นกัน โดยให้ยกเลิกบัญชีอัตราเงินเดือนฯปี 2547 เพื่อให้สอดคล้องกับสภาพเศรษฐกิจ โดยปรับเพิ่มในอัตราร้อยละ 5 เท่ากันทุกอัตราสำหรับข้าราชการทุกประเภท โดยเงินเดือนต่ำสุดอยู่ที่ 4, 450 บาท สูงสุดที่ 64, 950 บาท และเงินเดือนนายกรัฐมนตรี 69, 220 บาท การปรับบัญชีเดือนฯ ครั้งที่ 3 ปี พ. 2550 เกิดขึ้นหลังการรัฐประหารโดยคณะปฏิรูปการปกครองในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข หรือ คปค. ซึ่งมี พล. สนธิ บุญยรัตกลิน เป็นหัวหน้าคณะ ยึดอำนาจจาก พ. ทักษิณ ชินวัตร นายกรัฐมนตรี ในปี 2549 นับเป็นการก่อรัฐประหารเป็นครั้งแรกในรอบ 15 ปี พระราชกฤษฎีกาการปรับอัตราเงินเดือนของข้าราชการ (ฉบับที่ 3) พ. 2550 รับสนองพระบรมราชโองการโดย พล. สุรยุทธ์ จุลานนท์ นายกรัฐมนตรีขณะนั้น เป็นการปรับเพื่อให้เหมาะสมกับสภาวะเศรษฐกิจและค่าครองชีพที่เพิ่มสูงขึ้นมาก โดยปรับเพิ่มในอัตราร้อยละ 4 เท่ากันทุกอัตราจาก พ. ร. ก. ฉบับก่อนสําหรับข้าราชการทุกประเภท โดยเงินเดือนต่ำสุดอยู่ที่ 4, 630 บาท สูงสุดที่ 67, 550 บาท และเงินเดือนนายกรัฐมนตรี 71, 990 บาท(คลิ๊กที่ภาพเพื่อขยาย) หลังจากปรับเงินเดือนข้าราชการ 3 ครั้ง ต่อมาปี 2551 ถือเป็นการปรับบัญชีเงินเดือนและเงินประจำตำแหน่งข้าราชการพลเรือนสามัญ ครั้งที่ 4 โดยมีการกำหนดฐานเงินเดือนขั้นต่ำขั้นสูงตามพระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.